• ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank of Thailand)

    ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติ (National Biobank of Thailand)

    ประเทศไทยเป็นประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพมากที่สุดแห่งหนึ่งของโลก ศูนย์พันธุวิศวกรรมและเทคโนโลยีชีวภาพแห่งชาติ สวทช. จัดตั้ง “ธนาคารทรัพยากรชีวภาพแห่งชาติขึ้น เพื่อเป็นหนึ่งในโครงสร้างพื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำหรับจัดเก็บรักษาทรัพยากรชีวภาพแบบระยะยาวด้วยกระบวนการจัดเก็บมาตรฐานสากล และจัดเก็บฐานข้อมูลทรัพยากรทางชีวภาพเพื่อการใช้ประโยชน์อย่างมีประสิทธิภาพและยั่งยืน

    continue reading »

     
     
  • ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC)

    ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (TBRC)

    ศูนย์ชีววัสดุประเทศไทย (Thailand Bioresource Research Center: TBRC) ซึ่งจัดตั้งโดยไบโอเทค สวทช. เป็นศูนย์กลางการให้บริการชีววัสดุ รวมถึงให้บริการอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีววัสดุแบบครบวงจร เพื่อการวิจัยและประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรม สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ ส่งเสริมการใช้ประโยชน์อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน

    continue reading »

     
     
  • 1 นาที กับ BCG Model ตอน ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย

    1 นาที กับ BCG Model ตอน ความหลากหลายทางชีวภาพของประเทศไทย

    ประเทศไทยเป็น 1 เป็น 1 ใน 20 ประเทศที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงที่สุดในโลก เนื่องจากตั้งอยู่ในเขตร้อนชื้นใกล้เส้นศูนย์สูตร มีภูมิอากาศเหมาะสมต่อการเจริญเติบโตและแพร่พันธุ์ของสิ่งมีชีวิตนานาชนิด โดยมีสิ่งมีชีวิตประมาณ 10% ของชนิดสิ่งมีชีวิตทั้งหมดที่พบบนโลก ทั้งพันธุ์พืช พันธุ์สัตว์ และจุลินทรีย์หลากหลายสายพันธุ์

    continue reading »

     
     
  • นวัตกรรมอาหาร กลุ่ม Functional Ingredients

    นวัตกรรมอาหาร กลุ่ม Functional Ingredients

    ผลงาน นวัตกรรมอาหาร กลุ่ม Functional Ingredients โดย ดร.วรรณพ วิเศษสงวน ผู้อำนวยการโปรแกรมสารให้ประโยชน์เชิงหน้าที่และนวัตกรรมอาหาร TDG Food and Feed สวทช.

    continue reading »

     
     
  • Bioeconomy (เศรษฐกิจชีวภาพ)

    Bioeconomy (เศรษฐกิจชีวภาพ)

    Bio economy หรือเศรษฐกิจชีวภาพ คือการใช้ทรัพยากรชีวภาพต่างๆ ไม่ว่าจะเป็น พืช สัตว์ หรือสิ่งมีชีวิตอื่นๆ รวมทั้งผลิตภัณฑ์ต่างๆ ในการค้นพบสารสำคัญใหม่ๆ แต่อาศัยวิธีการอย่างเป็นระบบ เช่น เริ่มต้นจากการสร้างคลังสิ่งมีชีวิตที่เรียกว่า National biobank จากนั้นจึงใช้ความรู้สมัยใหม่

    continue reading »