• 1 นาที กับ BCG Model ตอน นวัตกรรมเครื่องผลิตข้าวฮางงอก

    1 นาที กับ BCG Model ตอน นวัตกรรมเครื่องผลิตข้าวฮางงอก

    วช. สนับสนุนนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยมหาสารคาม (มมส.) พัฒนา “เครื่องเร่งกระบวนการแช่และเพาะงอกข้าวเปลือก” สำหรับการผลิตข้าวกล้องฮางงอกคุณภาพดี เพื่อช่วยเกษตรกรแปรรูปเพิ่มมูลค่าข้าวอินทรีย์ โดยผลิตเป็นข้าวฮางงอก ซึ่งมีคุณค่าทางอาหารสูง และขายได้ราคาดีกว่าการจำหน่ายในรูปข้าวสารขาวถึง 17.6 เท่า

    continue reading »

     
     
  • 1 นาที กับ BCG Model ตอน เทคโนโลยี “Plant Phenomics”

    1 นาที กับ BCG Model ตอน เทคโนโลยี “Plant Phenomics”

    สวทช. นำเทคโนโลยีการประเมินสรีระวิทยา และรูปลักษณ์ขั้นสูงของพืช หรือ Plant Phenomics มาใช้ในการศึกษาวิจัยและปรับปรุงพันธุ์พืช ด้วยเทคนิค Image Analysis โดยใช้กล้องและเซนเซอร์ประเภทต่างๆ ในการวัดค่าพารามิเตอร์ที่สำคัญได้อย่างรวดเร็ว แม่นยำ ด้วยระบบควบคุมอัตโนมัติโดยไม่ทำลายต้นพืช

    continue reading »

     
     
  • R&D Sharing 2022 ตอนที่ 5: ดูดซับสารพิษด้วยวัสดุจากของเสียทางการเกษตร

    R&D Sharing 2022 ตอนที่ 5: ดูดซับสารพิษด้วยวัสดุจากของเสียทางการเกษตร

    งาน R&D Sharing 2022 ตอนที่ 5: ดูดซับสารพิษด้วยวัสดุจากของเสียทางการเกษตร โดย ดร.พงษ์ธนวัฒน์ เข็มทอง ทีมวิจัยตัวเร่งปฏิกิริยา NANOTEC สวทช. วันพฤหัสบดีที่ 4 ส.ค. 65 เวลา 10.00 น. – 10.40 น.

    continue reading »

     
     
  • พลังวิทย์ คิดเพื่อคนไทย ตอน การประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา ครั้งที่ 71

    พลังวิทย์ คิดเพื่อคนไทย ตอน การประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ณ เมืองลินเดา ครั้งที่ 71

    สวทช. รับสนองพระราชดำริสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ที่มีพระประสงค์ให้นักศึกษา และนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่ของไทย ได้มีโอกาสเข้าร่วมงานประชุมผู้ได้รับรางวัลโนเบล ได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริงของนักวิทยาศาสตร์ ที่เคยได้รับรางวัลโนเบลในอดีต และสร้างเครือข่ายกับนักวิทยาศาสตร์รุ่นใหม่จากทั่วโลก

    continue reading »

     
     
  • 1 นาที กับ BCG Model ตอน ชุดของเล่นจากยางพารา enR/Plearn

    1 นาที กับ BCG Model ตอน ชุดของเล่นจากยางพารา enR/Plearn

    เอ็มเทค สวทช. พัฒนานวัตกรรม “ชุดของเล่นจากยางพารา enR/Plearn” โดยนำยางพารามาพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์ของเล่น 3 ชนิด ได้แก่ Para Dough ดินปั้นจากยางพารา ไม่มีกลิ่น สีและแป้งไม่ติดมือ Para Note ยางพาราสำหรับขีดเขียนคล้ายชอล์ก ไม่เลอะมือ ไม่มีฝุ่นฟุ้งกระจาย ไม่เปราะหักง่าย และ Para Sand ทรายเทียมจากยางพารา มีลักษณะเป็นผงนุ่ม สามารถอัดขึ้นรูปด้วยพิมพ์เป็นรูปทรงต่างๆ และกระจายตัวกลับมาเป็นผงเช่นเดิมได้

    continue reading »